พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข พ.ศ.2397 เนื้อสำริด
--- องค์สภาพเดิมๆ หาดูชมได้ยากยิ่ง
--- ในอดีต พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2397 ภายหลังจากที่หล่อและตบแต่งเสร็จ จะมีกรรมวิธีดังต่อไปนี้
ชั้นแรก ทาครั่งบนผิวองค์พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2397(เนื้อสำริด)
ชั้นที่ 2 ลงรักทาทับครั่ง
ชั้นที่ 3 ปิดทองคำเปลว
(ชื่อพระเครื่อง)
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข พ.ศ.2397 เนื้อสำริด(สร้างสมัย)
รัชกาลที่ 4 พ.ศ.2397
(ผู้อธิษฐานจิต) สมเด็จ ฯ โต พรหมรังสี วัดระฆัง
(มวลสาร) เนื้อสำริด(เหลืองทอง) หรือ เนื้อสัมฤทธิ์(เหลืองทอง)
(พลานุภาพ)
รักษาป้องกันโรคภัยอันตราย มหาอำนาจ บารมี โชคลาภ วาสนา พลานุภาพ 108 เหนือคำบรรยาย มีครบทุกด้าน ไร้ขีดจำกัด
(ราคาเหมะสม) -
(ราคาเซียน) -
(ราคาท้องตลาด) -
(ราคาสมบัติผลัดกันซื้อ) มีกำไรซื้อ-ขายได้ทุกราคา
หมายเหตุ.....เป็นพระกริ่งปวเรศที่คนรู้จักในวงแคบ จึงนำมาเผยแพร่เป็นวิทยาทานเผื่อคนที่มีในครอบครองได้จะรู้จัก
พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2397 สภาพเก่าธรรมชาติ ผ่านการใช้... ไม่เคยล้างผิว
วิเคราะห์พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2397 ผ่านการใช้... เคยล้างผิว
พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2397 |
--- บนใบหน้าและแก้มสีน้ำตาลเข็ม คือ ครั่ง ที่ช่างโบราณได้ทาเป็นสีรองพื้นเพื่อรักษาองค์กริ่ง...
--- เนื้อสำริดเกิดจากโลหะธาตุหลายชนิดมาผสมรวมกัน ออกวรรณะสีเหลืองทอง(บริเวณใบหน้าองค์พระกริ่ง...)
ขยายภาพพระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2397 ดูความเก่ากันชัดๆ |
ในร่องนิ้วมือ และผ้าทิพย์ สีเหลืองๆ คือ ทองคำ ที่เป็นเนื้อมวลสารโลหะธาตุผสมอยู่ในองค์พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2397 |
ในร่องบัว เผยให้เห็นสีเหลือง คือ ทองคำที่เป็นส่วนผสมของโลหะธาตุในการสร้างพระกริ่งปวเรศ...สีน้ำตาล คือ ครั่ง ที่ทาเป็นสีรองพื้น |
ลูกศรชี้ สีเหลือง คือ ทองคำ |
ลูกศรสีแดง โค๊ตลับ พระกริ่งปวเรศ........... |
--- ลูกศร สีขาวชี้ สีน้ำตาล คือ ครั่ง สีดำ คือ รักที่ทาไว้เพื่อปิดทองคำเปลว
สรุป
*** พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2397 และ พ.ศ.2398 มีความคล้ายกันมาก และในอดีต
*** จำนวนที่สร้าง...มีหลักร้อย...องค์
*** มีพลานุภาพแรงกว่าพระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข ไม่ว่าจะเป็น พ.ศ.2434 รุ่นฉลองพระรูปทรงม้า และรุ่นสร้างสมัย ร.6 (จีวรลายพิกุล)