วันพุธที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2556

พระพุทธปางไสยาสน์

ขอเสนอพระเครื่องพิมพ์พิเศษให้นักสะสมพระเครื่องสายสมเด็จวัดระฆังให้ได้รู้จักกัน แต่อยู่นอกระบบของเซียนตำรา  เพราะเซียนตำราไม่มีกล่าวถึง  ไม่ต้องไปค้นหา หรือ สือค้นให้เสียเวลา

พระพุทธปางไสยาสน์พิมพ์พิเศษ พ.ศ.2407  มีเนื้อมวลสารพิเศษกว่าและมีความหนากว่าพิมพ์ธรรมดา  แต่มีหน้าตาพิมพ์ทรงใกล้เคียงกับ พระพุทธปางไสยาสน์ กรุบางขุนพรหมซึ่งมีขนาดบางกว่า และกรุบางขุนพรหมสร้างบรรจุกรุ พ.ศ.2406 จึงมีอายุต่างกัน 1 ปี


 พระพุทธปางไสยาสน์  (หนา)  พ.ศ.2407
พระพุทธปางไสยาสน์ (หนา)  พ.ศ.2407 นับถึง พ.ศ.2556 มีอายุการสร้าง 149 ปี
--- สร้างจำนวนน้อย มีผู้รู้จักในวงแคบ 


(ชื่อพระเครื่อง)
พระพุทธปางไสยาสน์  พิมพ์พิเศษหนา พ.ศ.2407

(สร้างสมัย)
รัชกาลที่ 4  พ.ศ.2407

(ผู้อธิษฐานจิต) สมเด็จ ฯ โต พรหมรังสี วัดระฆัง


(มวลสาร) เนื้อมวลสาร ผงวิเศษสมเด็จฯโต พรหมรังสี วัดระฆัง ฯลฯ
 
(พลานุภาพ)
รักษาป้องกันโรคภัยอันตราย  มหาอำนาจ บารมี  โชคลาภ  วาสนา  เมตตามหานิยม พลานุภาพ 108 เหนือคำบรรยาย มีครบทุกด้าน ความแรงไร้ขีดจำกัด

(พระต้นแบบ)
พระพุทธปางไสยาสน์ วัดราชโอรสฯ  (หมอนใต้แขนมีลักษณะกลม)
     พระพุทธไสยาสน์ที่สถาปนาขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3  ปรากฏตามหลักฐานที่สำคัญ 2 พระองค์คือที่วัดพระเชตุพนหรือวัดโพธิ์ กับที่วัดราชโอรส ทั้งสองพระองค์มีลักษณะเหมือนกัน คือพระวรกายเรียวบาง พระพักตร์ค่อนข้างกลมกึ่งรูปไข่ ขมวดพระเกศาเล็ก พระรัศมีเป็นเปลว

 
(ราคาเหมะสม) -

(ราคาเซียน) -

(ราคาท้องตลาด) -

(ราคาสมบัติผลัดกันซื้อ) มีกำไรซื้อ-ขายได้ทุกราคา 

หมายเหตุ.....เป็นพระสมเด็จปางไสยาสน์ที่คนรู้จักในวงแคบ  จึงนำมาเผยแพร่เป็นวิทยาทานเผื่อคนที่มีในครอบครองได้รู้จัก


ด้านหน้า ของพระพุทธปางไสยาสน์ พ.ศ.2407
ใบหน้า พระพุทธปางไสยาสน์ พ.ศ.2407



ขยายรายละเอียด

--- สีน้ำตาลอ่อน-แก่ คือ ครั่ง ที่ทารองพื้นชั้นแรก
--- สีดำ คือ รัก ที่ทาเพื่อรักษาองค์พระในสมัย 149 ปีที่ผ่านมา หลุดลุ่ยจนแทบจะมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น


ด้านหลัง ของพระพุทธปางไสยาสน์ พ.ศ.2407


ด้านข้างของพระพุทธปางไสยาสน์ พ.ศ.2407
การยุบตัวของเกสรดอกไม้และมวลสารฯ




 พระพุทธปางไสยาสน์  (หนา)  พ.ศ.2410
พระพุทธปางไสยาสน์ (หนา)  พ.ศ.2410 นับถึง พ.ศ.2556 มีอายุการสร้าง 146 ปี
--- สร้างจำนวนน้อยมาก มีผู้รู้จักในวงแคบ 


(ชื่อพระเครื่อง)
พระพุทธปางไสยาสน์  พิมพ์พิเศษหนา พ.ศ.2410

(สร้างสมัย)
รัชกาลที่ 4  พ.ศ.2410

(ผู้อธิษฐานจิต) สมเด็จ ฯ โต พรหมรังสี วัดระฆัง


(มวลสาร) เนื้อมวลสาร ผงวิเศษสมเด็จฯโต พรหมรังสี วัดระฆัง ฯลฯ
 
(พลานุภาพ)
รักษาป้องกันโรคภัยอันตราย  มหาอำนาจ บารมี  โชคลาภ  วาสนา  เมตตามหานิยม พลานุภาพ 108 เหนือคำบรรยาย มีครบทุกด้าน ความแรงไร้ขีดจำกัด

(พระต้นแบบ)
พระพุทธปางไสยาสน์ วัดพระเชตุพนหรือวัดโพธิ์  (หมอนใต้แขนมีลักษณะสามเหลี่ยม)
     พระพุทธไสยาสน์ที่สถาปนาขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3  ปรากฏตามหลักฐานที่สำคัญ 2 พระองค์คือที่วัดพระเชตุพนหรือวัดโพธิ์ กับที่วัดราชโอรส ทั้งสองพระองค์มีลักษณะเหมือนกัน คือพระวรกายเรียวบาง พระพักตร์ค่อนข้างกลมกึ่งรูปไข่ ขมวดพระเกศาเล็ก พระรัศมีเป็นเปลว




(ราคาเหมะสม) -

(ราคาเซียน) -

(ราคาท้องตลาด) -

(ราคาสมบัติผลัดกันซื้อ) มีกำไรซื้อ-ขายได้ทุกราคา 

หมายเหตุ.....เป็นพระสมเด็จปางไสยาสน์ที่น่าสนใจ  จึงนำมาเผยแพร่เป็นวิทยาทานเผื่อคนที่มีในครอบครองได้รู้จัก


ด้านหน้า ของพระพุทธปางไสยาสน์ พ.ศ.2410
ขยายใบหน้า

ด้านหลัง ของพระพุทธปางไสยาสน์ พ.ศ.2410
พระปางไสยาสน์ พ.ศ.2410


ด้านข้าง ของพระพุทธปางไสยาสน์ พ.ศ.2410

 รู้ไว้ใช่ว่า พระประจำวันอังคาร พระปางไสยาสน์ พ.ศ.2407 และ พ.ศ.2410 ดีจริงจะบอกให้...เป็นพระเนื้อสมเด็จ...(หนา) มวลสารผงวิเศษ...