พระกริ่งปวเรศ พิมพ์เหมือนกัน ใช่จะสร้างในวาระ พ.ศ.เดียวกัน ดังเช่น พระกริ่งปวเรศพิมพ์สมบูรณ์พูนสุขได้สร้างหลายวาระหลาย พ.ศ. ตั้งแต่ สมัย รัชกาลที่4 รัชกาลที่5 ถึงสมัยรัชกาลที่ 6 ดังนั้น
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา ที่เคยนำเสนอในกระทู้ก่อนหน้าที่อยู่ในกลางบาตรน้ำมนต์ ความจริงในอดีตได้มีการสร้างหลายวาระหลาย พ.ศ. อีกทั้งยังมีวรรณะสีผิวการกลับดำที่แตกต่างกันในแต่ละวาระที่สร้าง มีทั้งเหมือนและแตกต่างกัน ล้วนเกิดจากโลหะธาตุที่นำมาผสม เช่น การกลับดำสีน้ำตาลอมดำ จะพบเห็นกันมาก ที่หายากคือ การกลับดำแบบสีดำจริงๆ
ในกระทู้นี้จะนำเสนอ วรรณะสีผิวการกลับดำของพระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา ที่มีคนเขียนและกล่าวถึงการกลับดำของพระกริ่งปวเรศ ความดำของพระกริ่งปวเรศฯพิมพ์มีเส้นใต้ตา จะมีลักษณะเช่นไร?
ชื่อ: พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา
เนื้อมวลสาร: เนื้อสำริด หรือ สัมฤทธิ์กลับดำ ผสมเหล็กไหลธาตุกายสิทธิ์
กริ่ง: ฐานมีก้านฉนวน (รุ่นนี้สร้างไม่บรรจุเม็ดกริ่ง)
สร้าง: พ.ศ.2412 เนื่องในวาระ รัชกาลที่ 5 ครองราชย์ฯครบ 1 ปี
ผู้อธิษฐานจิต: สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี วัดระฆัง
พุทธคุณ: ครอบจักรวาล ครบทุกด้าน
สภาพ: ไม่เคยผ่านการใช้งาน
ราคาตลาด: ประเมินไม่ต่ำ 30 ล้านบาท
ราคา: ไม่ขาดทุนขายได้ทุกราคา (ไม่ต่ำกว่า 7 หลัก) สนใจโทรสอบถาม...
...พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 วรรณะสีผิวกลับดำสนิท เนื้อสำริด ผสมเหล็กไหลกายสิทธิ์ ทาครั่ง ลงรัก ปิดทองคำเปลว
--- ลักษณะองค์พระกริ่งฯ ขัดผิวตบแต่งเล็กน้อย มีเส้นเบ้าประกบ 4 ด้าน คือ ซ้าย ขวา หน้า หลัง บ่งบอกถึงเบ้าที่เป็นแม่แบบสร้างหุ่นขี้ผึ้งเกิดชำรุดเสียหายและเป็นการใช้งานครั้งสุดท้ายของแม่พิมพ์ชุดนี้
--- หรือมีความเป็นไปได้ว่าแม่พิมพ์ชุดนี้ เป็นแม่พิมพ์ลักษณะประกับ 4 ชิ้นรวมเป็นหนึ่งองค์
--- ผิวขององค์พระกริ่งฯ มีลักษณะผิวมะระ มีความแห้งเก่าธรรมชาติ (2556-2412= 144 ปี)
วรรณะสีผิว
การกลับดำ
ทาครั่ง
ลงรัก
ปิดทองคำเปลว
รอยเบ้าประกบ
ความเก่าแห้งธรรมชาติอายุ 144 ปี
สรุปจบ
*** ในอดีตหลายๆท่านคงเคย ฟังเขาเล่า... ภาพดำๆมืดๆ มองไม่ชัด *** ในกระทู้นี้นำพระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา ขยายรูปคมชัดเพื่อเป็นวิทยาทาน ศึกษาดูด้วยตาตนเอง ศึกษาเอง รู้เอง ความเก่าการกลับดำมีลักษณะเช่นนี้
***รู้ความจริง...ไม่จำเป็นต้องไปอิงนิยายคนอื่น...ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา ที่เคยนำเสนอในกระทู้ก่อนหน้าที่อยู่ในกลางบาตรน้ำมนต์ ความจริงในอดีตได้มีการสร้างหลายวาระหลาย พ.ศ. อีกทั้งยังมีวรรณะสีผิวการกลับดำที่แตกต่างกันในแต่ละวาระที่สร้าง มีทั้งเหมือนและแตกต่างกัน ล้วนเกิดจากโลหะธาตุที่นำมาผสม เช่น การกลับดำสีน้ำตาลอมดำ จะพบเห็นกันมาก ที่หายากคือ การกลับดำแบบสีดำจริงๆ
ในกระทู้นี้จะนำเสนอ วรรณะสีผิวการกลับดำของพระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา ที่มีคนเขียนและกล่าวถึงการกลับดำของพระกริ่งปวเรศ ความดำของพระกริ่งปวเรศฯพิมพ์มีเส้นใต้ตา จะมีลักษณะเช่นไร?
ชื่อ: พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา
เนื้อมวลสาร: เนื้อสำริด หรือ สัมฤทธิ์กลับดำ ผสมเหล็กไหลธาตุกายสิทธิ์
กริ่ง: ฐานมีก้านฉนวน (รุ่นนี้สร้างไม่บรรจุเม็ดกริ่ง)
สร้าง: พ.ศ.2412 เนื่องในวาระ รัชกาลที่ 5 ครองราชย์ฯครบ 1 ปี
ผู้อธิษฐานจิต: สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี วัดระฆัง
พุทธคุณ: ครอบจักรวาล ครบทุกด้าน
สภาพ: ไม่เคยผ่านการใช้งาน
ราคาตลาด: ประเมินไม่ต่ำ 30 ล้านบาท
ราคา: ไม่ขาดทุนขายได้ทุกราคา (ไม่ต่ำกว่า 7 หลัก) สนใจโทรสอบถาม...
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 วรรณะสีผิวกลับดำสนิท |
--- ลักษณะองค์พระกริ่งฯ ขัดผิวตบแต่งเล็กน้อย มีเส้นเบ้าประกบ 4 ด้าน คือ ซ้าย ขวา หน้า หลัง บ่งบอกถึงเบ้าที่เป็นแม่แบบสร้างหุ่นขี้ผึ้งเกิดชำรุดเสียหายและเป็นการใช้งานครั้งสุดท้ายของแม่พิมพ์ชุดนี้
--- หรือมีความเป็นไปได้ว่าแม่พิมพ์ชุดนี้ เป็นแม่พิมพ์ลักษณะประกับ 4 ชิ้นรวมเป็นหนึ่งองค์
--- ผิวขององค์พระกริ่งฯ มีลักษณะผิวมะระ มีความแห้งเก่าธรรมชาติ (2556-2412= 144 ปี)
วรรณะสีผิว
การกลับดำ
ทาครั่ง
ลงรัก
ปิดทองคำเปลว
รอยเบ้าประกบ
ความเก่าแห้งธรรมชาติอายุ 144 ปี
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 (ตาจมูก) |
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 จมูกและปาก |
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 ทาครั่ง ลงรัก ปิดทองคำเปลว |
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 รอยเบ้าประกบ |
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 หม้อน้ำมนต์ |
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 หลังใบหูซ้าย และด้านข้างศรีษะ(ซ้าย) |
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 หลังใบหูขวา และด้านข้างศรีษะ(ขวา) |
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 (ไหล่ขวา+แขนขวาด้านหลัง) ร่องรอยการขัดแต่งในอดีต แสงไฟกระทบสีสันโลหะธาตุงดงาม |
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา พ.ศ.2412 (ถ่ายรูปภายใต้แสงแดดสีไม่เหมือนธรรมชาติ) วงกลมนอกคือ ฐานพระกริ่งฯด้านนอก วงที่สองคือ เบ้าบรรจุกริ่งและความเก่าตามธรรมชาติ ตรงกลางคือแกนช่อพระกริ่งฯ |
สรุปจบ
*** ในอดีตหลายๆท่านคงเคย ฟังเขาเล่า... ภาพดำๆมืดๆ มองไม่ชัด *** ในกระทู้นี้นำพระกริ่งปวเรศ พิมพ์มีเส้นใต้ตา ขยายรูปคมชัดเพื่อเป็นวิทยาทาน ศึกษาดูด้วยตาตนเอง ศึกษาเอง รู้เอง ความเก่าการกลับดำมีลักษณะเช่นนี้
***รู้ความจริง...ไม่จำเป็นต้องไปอิงนิยายคนอื่น...ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม