วันอาทิตย์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พ.ศ.2410 หลังมงกุฏเพชร

พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410

ชื่อ:
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410

สร้างสมัย: รัชกาลที่ 4  พ.ศ.2410

ผู้อธิษฐานจิต(สร้าง):
สมเด็จฯ โต พรหมรังสี วัดระฆัง


มวลสาร:

ชินตะกั่ว แบบที่1


ตะกั่วถ้ำชา 
- มีส่วนผสมของตะกั่วมากที่สุดประมาณ 98 % 
- มีทองแดง 2 % 
- แร่ธาตุอื่นๆเช่น ทองคำ ปรอทฯลฯ พระที่มีส่วนผสมของทองแดงมาก จะมีความแข็งเพิ่มขึ้น
- มวลสารโลหะธาตุขององค์พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้น หลังมงกุฏเพชร มีส่วนผสมของตะกั่วมาก มีความอ่อนจับบิดงอได้ง่าย 
- บทความอ้างอิงฯ คลิกลิงก์ http://dr-natachai.blogspot.com/2013/10/blog-post_26.html   

พลานุภาพ:
ครบเครื่องทุกเรื่องฯลฯ
เมตตามหานิยม มหาอำนาจ บารมี  โชคลาภ  วาสนา  พลานุภาพ 108 เหนือคำบรรยาย มีครบทุกด้าน ไร้ขีดจำกัด
ฝีมือสร้าง: วัดระฆัง

อายุ: (2556-2410) = 146 ปี
ผู้จ่ายเงินสร้าง: รัชกาลที่ 4
ราคาเหมะสม: 3,500,000.00 บาท(สามล้านห้าแสนบาทถ้วน)

ราคาเซียนใหญ่: -


ราคาท้องตลาด: -


ราคาสมบัติผลัดกันซื้อ: มีกำไรซื้อ-ขายได้ทุกราคา 
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410 ด้านหน้า
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410 ด้านหลัง
ขยายรายละเอียดพระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410
หลังประทับตรา
พระมหาพิชัยมงกุฏเพชร
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410

พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410
รวมสรุปรูปขยายพระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์ 7 ชั้นหลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410
- สีเหลืองเม็ดเล็กๆ คือ ทองคำ ที่ผสมอยู่ในเนื้อตะกั่วถ้ำชา(ชินตะกั่ว)
- วรรณะสีผิวแห้งธรรมชาติ
- การหลุดร่อน (Spalling) ของครั่งและรักที่ได้เสื่อมสภาพโดยการแยกตัวออกจากผิวหน้าวัสดุที่ได้ทาเอาไว้เมื่อ 146 ปีที่ผ่านมา  
- การเกิดสนิมเขียว และ ไขขาวบริเวณผิวพระ แห้งเก่าธรรมชาติ


- บ่งชี้ถึงความเก่าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ต้องอาศัยกาลเวลา ไม่สามารถทำเทียมเรียนแบบได้  


--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์นาคปรก 7 เศียร หลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410

ชื่อ:
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์นาคปรก 7 เศียร หลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410

สร้างสมัย: รัชกาลที่ 4  พ.ศ.2410

ผู้อธิษฐานจิต(สร้าง):
สมเด็จฯ โต พรหมรังสี วัดระฆัง


มวลสาร:

ชินตะกั่ว แบบที่1


ตะกั่วถ้ำชา 
- มีส่วนผสมของตะกั่วมากที่สุดประมาณ 98 % 
- มีทองแดง 2 % 
- แร่ธาตุอื่นๆเช่น ทองคำ ปรอทฯลฯ พระที่มีส่วนผสมของทองแดงมาก จะมีความแข็งเพิ่มขึ้น
- มวลสารโลหะธาตุขององค์พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์นาคปรก 7 เศียร หลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410 หลังมงกุฏเพชร มีส่วนผสมของตะกั่วมาก มีความอ่อนจับบิดงอได้ง่าย 
- บทความอ้างอิงฯ คลิกลิงก์ http://dr-natachai.blogspot.com/2013/10/blog-post_26.html   

พลานุภาพ:
ครบเครื่องทุกเรื่องฯลฯ
เมตตามหานิยม มหาอำนาจ บารมี  โชคลาภ  วาสนา  พลานุภาพ 108 เหนือคำบรรยาย มีครบทุกด้าน ไร้ขีดจำกัด
ฝีมือสร้าง: วัดระฆัง

อายุ: (2556-2410) = 146 ปี
ผู้จ่ายเงินสร้าง: รัชกาลที่ 4
ราคาเหมะสม: 3,500,000.00 บาท(สามล้านห้าแสนบาทถ้วน)

ราคาเซียนใหญ่: -


ราคาท้องตลาด: -


ราคาสมบัติผลัดกันซื้อ: มีกำไรซื้อ-ขายได้ทุกราคา
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์นาคปรก 7 เศียร หลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์นาคปรก 7 เศียร หลังมงกุฏเพชร พ.ศ.2410
ขยายรายละเอียดพระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา พิมพ์นาคปรก 7 เศียร พ.ศ.2410
หลังประทับตรา
พระมหาพิชัยมงกุฏเพชร
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา
พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา
- สีเหลืองเม็ดเล็กๆ คือ ทองคำ ที่ผสมอยู่ในเนื้อตะกั่วถ้ำชา(ชินตะกั่ว)
- วรรณะสีผิวแห้งธรรมชาติ
- การหลุดร่อน (Spalling) ของครั่งและรักที่ได้เสื่อมสภาพโดยการแยกตัวออกจากผิวหน้าวัสดุที่ได้ทาเอาไว้เมื่อ 146 ปีที่ผ่านมา  
- การเกิดสนิมเขียว และ ไขขาวบริเวณผิวพระ แห้งเก่าธรรมชาติ
- บ่งชี้ถึงความเก่าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ต้องอาศัยกาลเวลา ไม่สามารถทำเทียมเรียนแบบได้  
- สีขาวสว่าง คือ ปรอท
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตราประทับ
พระมหาพิชัยมงกุฏเพชร ตราประจำรัชกาลที่ 4


พระมหาพิชัยมงกุฎเพชร ตราประจำรัชกาลที่ 4
พระมหาพิชัยมงกุฎเพชร ตราประจำรัชกาลที่ 4 
- พระมหาพิชัยมงกุฎ เป็นตราลักษณะรูปพระมหามงกุฎ  ตามพระนามเดิมของ(ร.4) คือ เจ้าฟ้ามงกุฎ
- พระแว่นสุริยกานต์ หรือ เพชร หมายถึง พระฉายา  เมื่อทรงผนวช คือ วชิรญาณ
- สัญลักษณ์ใต้พระมหาพิชัยมงกุฏและเพชร(หนังสือคำสั่ง...) คือ สร้างโดยพระราชโองการ รัชกาลที่ 4