กระทู้นี้ผู้เขียนขอกล่าวถึง
วงการนักนิยมวัตถุมงคลในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลักๆ ที่ผู้เขียนรู้จักนำมาเปรียบเทียบเป็นตาราง อธิบาย ได้ดังนี้
จากข้อเท็จจริง เมื่อมีกลางวันก็ต้องมีกลางคืน เมื่อมีผู้สัมผัสเรื่อง อจินไตยได้ ย่อมต้องมีคนที่ไม่สัมผัสได้ อันเกิดจากผลกรรมที่ได้กระทำในอดีตชาติสืบต่อๆกันมาถึงปัจจุบัน จึงมักจะไม่เชื่อเรื่อง บาป กรรม ต่างๆ บุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่ทำผิดไปโดยที่ไม่รู้ ไม่ทราบ แต่ก็เป็นการกระทำที่ตั้งใจกระำทำ ที่รู้ทั้งรู้ว่า 50:50 ยังกล้าเสี่ยงทำลงไป ส่วนใหญ่จะเป็นการปรามาสในพระรัตนตรัย เช่น การดูถูกคำบอกกล่าวหรือคำพูดของพระ...ไม่จริง ฯลฯ
ครูบาอาจารย์ท่านฯชี้แนะและสอนไว้เกี่ยวกับเรื่องกรรม "กรรมของคนอื่นชอบไปยุ่ง ตัวเองเอาตัวรอดได้แล้วยัง อย่างเที่ยวไปยุ่งเรื่องกรรมของคนอื่น"
ผู้เขียนเคยกล่าวไว้ในกระทู้ก่อนหน้านี้เมื่อ 2 ปีกว่าที่ผ่านมาว่า
พระแท้ทำอย่างไรย่อมเป็นพระแท้ ขออนุญาตนำคำพูดของ นายยกสมาคมพระเครื่องไทย คุณพยัฆ คำพันธ์ กล่าวไ้ว้ตอนหนึ่งดังนี้ "หนึ่งอย่าเล่นพระด้วยหู สองอย่างเชื่อว่าเขาเล่าว่า เรา ค่อยๆ เป็น ค่อยๆ ไป จริงหนีจริงไม่พ้นหรอดครับ พระเครื่องนี่เป็นสิ่งที่ล่ำค่าอยู่แล้ว จะถามจะมาเปรียบเทียบกัน พระที่แท้ก็เหมือนเพชรแท้ เหมือนทองคำแท้ ไปไหนถ้าจะแท้คือต้องแท้ ถ้าของปลอม ไปไหนปลอม ก็ต้องปลอม "ไม่จำเป็น ว่าต้องเป็นของใคร"
เมื่อมีพระแท้ย่อมมีพระเก๊ปลอมเรียนแบบ...หากเป็นพระเก๊ทำอย่างไรย่อมเป็นพระเก๊...จะให้บอกว่าเป็นพระแท้ย่อมเป็นไปไม่ได้
นักสะสมวัตถุมงคลที่ผู้เขียนพบมี 2 ประเภท ดังนี้
1. กลุ่มที่ศึกษาเรียนรู้จากเซียนตำรา เขาว่าอย่างไร...หลับหูหลับตาว่าตาม...แล้วยังนำข้อมูลที่ตนเองคิดว่าใช่...เสริมเติมแต่งสีตีไข่...
2. กลุ่มนักปฏิบัติธรรม มีแนวคิดที่เชื่อเฉพาะข้อเท็จจริงที่สัมผัสได้ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับ อจินไตย
ข้อดี - ข้อเสียของนักสะสมวัตถุมงคลทั้ง 2 ประเภท
นักสะสมประเภทที่ 1 กลุ่มเซียนตำรา
ข้อดี มีตำราศึกษา เรียนรู้ได้ง่าย ผิดถูกว่ากันตามตำรา
ข้อเสีย ตำราผิดสอนมาว่าถูก ผู้เรียนในแนวทางของเซียนตำรา ก็ต้องว่าถูก
นักสะสมประเภทที่ 2 กลุ่มนักปฏิบัติธรรม
ข้อดี เป็นความเชื่อเฉพาะบุคคล ของผู้ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติถึงแล้วรู้ได้ด้วยตนเองว่า อะไรใช่ อะไรไม่ใช่ เป็นเรื่อง อจินไตย
ข้อเสีย ยากที่จะทำให้บุคคลที่ไม่ใช่นักปฏิบัติธรรมได้เข้าใจ และยิ่งยากขึ้นหากผู้นั้นไม่เชื่อและศรัทธาเรื่อง บาป และเวรกรรมฯลฯ
นักสะสมวัตถุมงคลที่ดีในแนวคิดของผู้เขียนจะต้องเป็นบุคคลดังนี้
1. เรียนรู้วิธีแนวคิดของเซียนตำรา... แต่อย่าพึ่งเชื่อในตำราทั้งหมด เพราะมีทั้งถูกและผิด
2. เป็นนักปฏิบัติธรรม
3. ถ้าหากบารมียังไม่เพียงพอ ยังไม่สามารถตรวจสอบพระเครื่องได้ว่าแท้หรือเก๊-ปลอมเรียนแบบ(อจินไตย)
ในเมืองไทย มีอริยบุคคลมากมาย ขอท่านเมตตาสงเคราะห์ เช่น
--- พระสงฆ์(พระสมมุติสงฆ์) มีมากมายหลายองค์ ขอท่านเมตตาสงเคราะห์ตรวจสอบให้
--- นักปฏิบัติธรรม ที่เป็นฆราวาส มีมากมาย ขอท่านเมตตาสงเคราะห์ตรวจสอบให้
นักสะสมวัตถุมงคลมีคุณสมบัติตามที่ผู้เขียนกล่าว นักสะสมผู้นั้น มีแต่วัตถุมงคลของแท้ และมีพุทธคุณที่ยอมเยี่ยม และพระเบื้องบนคุ้มครองดูแลรักษา
ตรงข้ามกับกลุ่มเซียนตำรา ที่ส่วนใหญ่จะอ้างตำรา(ที่มีเสี้ยนตำราสร้างล่วงหน้า)ในการหากิน ใครขัดผลประโยชน์จะรวมกลุ่มโจมตีทันทีว่า วัตถุมงคล...ไม่ใช่ของแท้เป็นของเก๊-ปลอมเรียนแบบ...ต้องของกลุ่มของตนเองซิถึงจะใช่...เพราะมีเสี้ยนเขียนตำราไว้น่าเชื่อถือ อีกทั้งยังมีคนของพวก(เซียนตำรา)ตนเองรับรองว่าแท้
2. ทำอะไรมักจะปกปิด ไม่กล้าเปิดเผยข้อมูลที่เป็นจริง
3. ทำอะไรมักจะอ้างว่ารู้..... เมื่อเปิดเผย เป็นข้อมูลโจมตีบุคคลที่ตนเองไม่สบอารมณ์ ข้อมูลไร้สาระ
หากพบเห็นบุคคลดังที่ผู้เขียนกล่าว ให้ระวัง...อย่าไปร่วมกรรมเลวของเขา
********************************************************************
สมเด็จองค์ปฐมทรงเมตตาตรัสสอนว่า
********************************************************************
วงการนักนิยมวัตถุมงคลในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลักๆ ที่ผู้เขียนรู้จักนำมาเปรียบเทียบเป็นตาราง อธิบาย ได้ดังนี้
จากข้อเท็จจริง เมื่อมีกลางวันก็ต้องมีกลางคืน เมื่อมีผู้สัมผัสเรื่อง อจินไตยได้ ย่อมต้องมีคนที่ไม่สัมผัสได้ อันเกิดจากผลกรรมที่ได้กระทำในอดีตชาติสืบต่อๆกันมาถึงปัจจุบัน จึงมักจะไม่เชื่อเรื่อง บาป กรรม ต่างๆ บุคคลเหล่านี้ส่วนใหญ่ทำผิดไปโดยที่ไม่รู้ ไม่ทราบ แต่ก็เป็นการกระทำที่ตั้งใจกระำทำ ที่รู้ทั้งรู้ว่า 50:50 ยังกล้าเสี่ยงทำลงไป ส่วนใหญ่จะเป็นการปรามาสในพระรัตนตรัย เช่น การดูถูกคำบอกกล่าวหรือคำพูดของพระ...ไม่จริง ฯลฯ
ครูบาอาจารย์ท่านฯชี้แนะและสอนไว้เกี่ยวกับเรื่องกรรม "กรรมของคนอื่นชอบไปยุ่ง ตัวเองเอาตัวรอดได้แล้วยัง อย่างเที่ยวไปยุ่งเรื่องกรรมของคนอื่น"
เพิ่มเติมข้อมูลวันที่ 25 มีนาคม 2555
วันนี้ได้เพิ่มเติม ตารางเกี่ยวกับบารมีธรรมของกลุ่ม นักปฏิบัติธรรม กับ บารมีธรรมของกลุ่ม เซียนตำรา เพื่อผู้ที่สนใจจะได้เห็นภาพชัดเจนผู้เขียนเคยกล่าวไว้ในกระทู้ก่อนหน้านี้เมื่อ 2 ปีกว่าที่ผ่านมาว่า
พระแท้ทำอย่างไรย่อมเป็นพระแท้ ขออนุญาตนำคำพูดของ นายยกสมาคมพระเครื่องไทย คุณพยัฆ คำพันธ์ กล่าวไ้ว้ตอนหนึ่งดังนี้ "หนึ่งอย่าเล่นพระด้วยหู สองอย่างเชื่อว่าเขาเล่าว่า เรา ค่อยๆ เป็น ค่อยๆ ไป จริงหนีจริงไม่พ้นหรอดครับ พระเครื่องนี่เป็นสิ่งที่ล่ำค่าอยู่แล้ว จะถามจะมาเปรียบเทียบกัน พระที่แท้ก็เหมือนเพชรแท้ เหมือนทองคำแท้ ไปไหนถ้าจะแท้คือต้องแท้ ถ้าของปลอม ไปไหนปลอม ก็ต้องปลอม "ไม่จำเป็น ว่าต้องเป็นของใคร"
เมื่อมีพระแท้ย่อมมีพระเก๊ปลอมเรียนแบบ...หากเป็นพระเก๊ทำอย่างไรย่อมเป็นพระเก๊...จะให้บอกว่าเป็นพระแท้ย่อมเป็นไปไม่ได้
นักสะสมวัตถุมงคลที่ผู้เขียนพบมี 2 ประเภท ดังนี้
1. กลุ่มที่ศึกษาเรียนรู้จากเซียนตำรา เขาว่าอย่างไร...หลับหูหลับตาว่าตาม...แล้วยังนำข้อมูลที่ตนเองคิดว่าใช่...เสริมเติมแต่งสีตีไข่...
2. กลุ่มนักปฏิบัติธรรม มีแนวคิดที่เชื่อเฉพาะข้อเท็จจริงที่สัมผัสได้ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับ อจินไตย
ข้อดี - ข้อเสียของนักสะสมวัตถุมงคลทั้ง 2 ประเภท
นักสะสมประเภทที่ 1 กลุ่มเซียนตำรา
ข้อดี มีตำราศึกษา เรียนรู้ได้ง่าย ผิดถูกว่ากันตามตำรา
ข้อเสีย ตำราผิดสอนมาว่าถูก ผู้เรียนในแนวทางของเซียนตำรา ก็ต้องว่าถูก
นักสะสมประเภทที่ 2 กลุ่มนักปฏิบัติธรรม
ข้อดี เป็นความเชื่อเฉพาะบุคคล ของผู้ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติถึงแล้วรู้ได้ด้วยตนเองว่า อะไรใช่ อะไรไม่ใช่ เป็นเรื่อง อจินไตย
ข้อเสีย ยากที่จะทำให้บุคคลที่ไม่ใช่นักปฏิบัติธรรมได้เข้าใจ และยิ่งยากขึ้นหากผู้นั้นไม่เชื่อและศรัทธาเรื่อง บาป และเวรกรรมฯลฯ
นักสะสมวัตถุมงคลที่ดีในแนวคิดของผู้เขียนจะต้องเป็นบุคคลดังนี้
1. เรียนรู้วิธีแนวคิดของเซียนตำรา... แต่อย่าพึ่งเชื่อในตำราทั้งหมด เพราะมีทั้งถูกและผิด
2. เป็นนักปฏิบัติธรรม
3. ถ้าหากบารมียังไม่เพียงพอ ยังไม่สามารถตรวจสอบพระเครื่องได้ว่าแท้หรือเก๊-ปลอมเรียนแบบ(อจินไตย)
ในเมืองไทย มีอริยบุคคลมากมาย ขอท่านเมตตาสงเคราะห์ เช่น
--- พระสงฆ์(พระสมมุติสงฆ์) มีมากมายหลายองค์ ขอท่านเมตตาสงเคราะห์ตรวจสอบให้
--- นักปฏิบัติธรรม ที่เป็นฆราวาส มีมากมาย ขอท่านเมตตาสงเคราะห์ตรวจสอบให้
นักสะสมวัตถุมงคลมีคุณสมบัติตามที่ผู้เขียนกล่าว นักสะสมผู้นั้น มีแต่วัตถุมงคลของแท้ และมีพุทธคุณที่ยอมเยี่ยม และพระเบื้องบนคุ้มครองดูแลรักษา
ตรงข้ามกับกลุ่มเซียนตำรา ที่ส่วนใหญ่จะอ้างตำรา(ที่มีเสี้ยนตำราสร้างล่วงหน้า)ในการหากิน ใครขัดผลประโยชน์จะรวมกลุ่มโจมตีทันทีว่า วัตถุมงคล...ไม่ใช่ของแท้เป็นของเก๊-ปลอมเรียนแบบ...ต้องของกลุ่มของตนเองซิถึงจะใช่...เพราะมีเสี้ยนเขียนตำราไว้น่าเชื่อถือ อีกทั้งยังมีคนของพวก(เซียนตำรา)ตนเองรับรองว่าแท้
ข้อสังเกตุ พฤติกรรมของคนกลัวความจริงเปิดเผย
1. เป็นคนประเภทกลัวคนอื่นรู้จัก ชื่อ นามสกุล(จริง) เบอร์โทร (กรรมที่เคยก่อ วีรกรรมที่เคยทำ)2. ทำอะไรมักจะปกปิด ไม่กล้าเปิดเผยข้อมูลที่เป็นจริง
3. ทำอะไรมักจะอ้างว่ารู้..... เมื่อเปิดเผย เป็นข้อมูลโจมตีบุคคลที่ตนเองไม่สบอารมณ์ ข้อมูลไร้สาระ
หากพบเห็นบุคคลดังที่ผู้เขียนกล่าว ให้ระวัง...อย่าไปร่วมกรรมเลวของเขา
********************************************************************
สมเด็จองค์ปฐมทรงเมตตาตรัสสอนว่า
********************************************************************
การไปตำหนิกรรมของผู้อื่น จะูถูกหรือผิด มันก็เลวทั้งนั้น
คลิก...........................................................ลิงก์...