ขยายรายละเอีดยประวัติการสร้างพระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2404
การสร้าง พ.ศ. 2404
1. วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2404 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในขณะพระชันษา 9 พรรษาได้รับการสถาปนาให้ขึ้นทรงกรมเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศตรงกับ ปีระกา พ.ศ. 2404
2. (ไม่ทราบวันที่) พ.ศ. 2404 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงสร้างพระกริ่งปวเรศ เพื่อทดแทน พระกริ่งน้อยเนื้อทองคำที่หายไปเมื่อปี พ.ศ. 2403…ด้วยฝีมือการออกแบบและตบแต่งโดย ช่างหลวง (ช่างสิบหมู่) ในยุคนั้น
3. เพื่อใช้ในพระราชพิธีถวายมหาสมณุตมาภิเษก การตั้งพระนามกรมพระเจ้าลูกยาเธอ รัชกาลที่ 4 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2404 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในขณะพระชันษา 9 พรรษาได้รับการสถาปนาให้ขึ้นทรงกรมเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศตรงกับ ปีระกา พ.ศ. 2404
การสร้าง พ.ศ. 2409
2. เป็นที่ระลึกถวายรัชกาลที่ 4 และ รัชกาลที่ 5
การสร้าง พ.ศ. 2411
1 กริ่งรุ่นนี้ไม่มีเส้นพระศก
2 ไม่มีส่วนผสมของเนื้อพระพุทธชินสีห์ที่ได้สร้างครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2
3 การสร้างทั้ง 2 วาระ เป็นเนื้อสัมฤทธิ์ มี 3 ชนิด เนื้อสัมฤทธิ์เดช ออกสีแดงแก่ อ่อน, เนื้อสัมฤทธิ์ศักดิ์ ออกสีขาวหรือขาวจัด, เนื้อสัมฤทธิ์โชค ออกสีเหลือง
4 จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้
2. สร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์ถวายรัชการที่ 5 พระชนมายุ 15 พระชันษา ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้นครองราชย์สมบัติ
- พิมพ์นี้ผู้เขียนตั้งชื่อพิมพ์ว่า "สมบูรณ์ พูนสุข" เป็นการสร้างครั้งแรกที่เกิดขึ้นของพิมพ์ "สมบูรณ์ พูนสุข"
- พิมพ์นี้ การสร้างวาระที่ 1 พ.ศ.2411 เป็นเนื้อสัมฤทธิ์ มี 3 ชนิด
*เนื้อสัมฤทธิ์เดช ออกสีแดงแก่ อ่อน หรือ สีนาค
* เนื้อสัมฤทธิ์ศักดิ์ ออกสีขาวหรือขาวจัด(สีเงิน)
* เนื้อสัมฤทธิ์โชค ออกสีเหลือง หรือ สีดอกจำปา
- การตบแต่งก้นของพระกริ่ง ประกอบด้วย
*องค์พระแบบมาตราฐาน เนื้อสัมฤทธิ์หรือนวโลหะ เกลาตบแต่งความงดงาม ก้นทองแดง
*องค์พระแบบมาตราฐาน เนื้อสัมฤทธิ์หรือนวโลหะ เกลาตบแต่งความงดงาม ก้นทองแดง บุแผ่นเงิน ประทับรอยอักขระยันต์
*องค์พระแบบมาตราฐาน เนื้อสัมฤทธิ์หรือนวโลหะ เกลาตบแต่งความงดงาม ก้นทองแดง บุแผ่นทองคำ ประทับรอยอักขระยันต์
- พิมพ์นี้ผู้เขียนตั้งชื่อพิมพ์ว่า "สมบูรณ์ พูนสุข" เป็นการสร้างครั้งแรกที่เกิดขึ้นของพิมพ์ "สมบูรณ์ พูนสุข"
- พิมพ์นี้ การสร้างวาระที่ 1 พ.ศ.2411 เป็นเนื้อสัมฤทธิ์ มี 3 ชนิด
*เนื้อสัมฤทธิ์เดช ออกสีแดงแก่ อ่อน หรือ สีนาค
* เนื้อสัมฤทธิ์ศักดิ์ ออกสีขาวหรือขาวจัด(สีเงิน)
* เนื้อสัมฤทธิ์โชค ออกสีเหลือง หรือ สีดอกจำปา
พระกริ่งปวเรศ หรือ พระกริ่งประจำรัชกาลที่ 5 สร้างในวาระที่ 1 พ.ศ. 2411 เนื้อสัมฤทธิ์โชค ออกสีเหลือง |
*องค์พระแบบมาตราฐาน เนื้อสัมฤทธิ์หรือนวโลหะ เกลาตบแต่งความงดงาม ก้นทองแดง
ก้นทองแดง |
*องค์พระแบบมาตราฐาน เนื้อสัมฤทธิ์หรือนวโลหะ เกลาตบแต่งความงดงาม ก้นทองแดง บุแผ่นเงิน ประทับรอยอักขระยันต์
ก้นทองแดง บุแผ่นเงินประทับอักขระยันต์ สร้าง พ.ศ. 2411 วาระที่ 1 |
*องค์พระแบบมาตราฐาน เนื้อสัมฤทธิ์หรือนวโลหะ เกลาตบแต่งความงดงาม ก้นทองแดง บุแผ่นทองคำ ประทับรอยอักขระยันต์
ก้นทองแดง บุแผ่นทองคำประทับอักขระยันต์ สร้าง พ.ศ. 2411 วาระที่ 1 |
2. พิธีบวรราชาภิเษกกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญขึ้นเป็นวังหน้าในสมัยรัชกาลที่ 5
การสร้าง พ.ศ. 2416
1 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงออกแบบเป็น 2 แบบ และที่พบ 2 แบบจริง แต่มีหลายพิมพ์
2 พระกริ่งปวเรศ รุ่นนี้มีการบรรจุลูกกริ่งไว้
3 สันนิฐานว่าเป็นกริ่งในเก๋งจีนอยู่ที่วัดบวร
4 จำนวนการสร้างไม่ได้กล่าวไว้
5 จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันในรับกาลที่ 5 พ.ศ.2411-2416 คณะกรรมการเผยแพร่เอกสารประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรีจัดพิมพ์เผยแพร พ.ศ.2516 หน้า 121-129
- วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2416 รัชกาลที่ 5 ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ
- สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ สร้างเพื่อทรงถวายในพระราชพิธีทรงผนวช
รูป แสดงโค๊ดเมล็ดงาที่ตอกในการสร้างวาระที่ 1 พ.ศ. 2416 สร้างเพื่อถวายในพระราชพิธีทรงผนวช ร.5
รูป แสดงพระกริ่งปวเรศ พ.ศ. 2416 วาระที่ 1 สร้างเพื่อถวายในพระราชพิธีทรงผนวช ร.5 ที่พบในวาระนี้มีหลายพิมพ์ด้วยกัน องค์นี้เจ้าของตั้งราคา 15 ล้านบาท(สิบห้าล้านบาท)
http://phantakityothin.blogspot.com/ |
http://phantakityothin.blogspot.com/ |
องค์นี้ตอกโต๊ด 8 เมล็ด โค๊ตในเมล็ดจะมีจุดไข่ปลากลมๆ
ระวังถ้าตาไม่ถึง จะเหมาเป็นรุ่นสร้าง พ.ศ.2434
วาระที่ 2 พ.ศ. 2416
2 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ สร้างเพื่อทรงถวายในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้นครองราชย์สมบัติ
โค๊ตเมล็ดงาจะอยู่ด้านขวาของฐานบัว ในวาระนี้พระกริ่งฯที่สร้างที่พบเห็นมีน้อยมาก
http://phantakityothin.blogspot.com/ |
พระกริ่งปวรเรศ พ.ศ. 2416 วาระที่ 2 รัชกาลที่ 5 ทรงพระบรมราชาภิเษกครองราชย์
องค์นี้คุณถิรวัฒน์ พันธกิจโยธิน เอื้อเฟื้อภาพและได้ตั้งราคา 15 ล้านบาท
องค์นี้คุณถิรวัฒน์ พันธกิจโยธิน เอื้อเฟื้อภาพและได้ตั้งราคา 15 ล้านบาท
การสร้าง พ.ศ. 2434
1 บันทึกบรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ มหามกุฎราชวิทยาลัย หน้า 5 วรรค 2
2 สมเด็จฯกรมพระยาปวเรศฯไม่ได้ออกแบบ
3 จัดสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์ทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเษก สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
4 ออกแบบโดย ช่างสิบหมู่ พระบรมวงศานุวงศ์ ไวยาวัชกรวัดบวรนิเวศ สมัยนั้น
5 มีหลายแบบทรงพิมพ์
5.1 บางแบบใช้แม่พิมพ์เก่า
5.2 บางองค์ก็เป็นแม่พิมพ์ใหม่
5.3 โลหะก็ไม่เหมือนกัน
5.4 มีทั้งแบบที่อยู่ในขันน้ำมนต์
5.5 ตลับสีผึ้ง
6 จำนวนการสร้างไม่ได้ระบุไว้
7 การสร้าง พระกริ่งปวเรศ พ.ศ. 2434 หลวงชำนาญเลขา (หุ่น) เป็นผู้ขออนุญาตสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
วาระที่ 1 พ.ศ.2434
2. พระราชพิธีเฉลิมพระนามในพระสุพรรณบัตร พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าบริพัตร ภายหลังเปลี่ยนเป็น "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
3. พระราชพิธีเฉลิมพระนามในพระสุพรรณบัตร พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าจักรพงษ์ ภายหลังเปลี่ยนเป็น "สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ
พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2434 พิมพ์สมบูรณ์ พูนสุข ได้ร่วมในพิธีวาระที่ 2 พ.ศ.2434
พระกริ่งปวเรศ จีวรลายดอก พิมพ์ก้นใหญ่หลังไม่มีบัว องค์นี้ขัดด้วยน้ำยา wenol เนื้อในสีนาค
พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2434 พิมพ์บัวรอบ
พระกริ่งปวเรศ พ.ศ. 2434 พิมพ์บัวรอบ องค์นี้ผ่านการขัดน้ำยา เนื้อในสีนาค
พระกริ่งปวเรศ จีวรายดอก พิมพ์ A
พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2434 จีวรรายดอก พิมพ์ B
พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2434 พิมพ์แบบจีวรลายดอกและไม่มีลายดอก ที่ยกตัวอย่างมาทั้ง 8 พิมพ์ล้วนแต่ได้เข้าร่วมในพิธีวาระที่ 2 พ.ศ.2434 ในวาระนี้เป็นการสร้างพระกริ่งรุ่นแบบจีวรมีลายดอกและแบบจีวรไม่มีลายดอก เพื่อพระราชพิธีเฉลิมพระนามในพระสุพรรณบัตร พระเจ้าลูกยาเธอฯทั้งสองพระองค์
วาระที่ 3 พ.ศ.2434
2. พระราชพิธีมหาสมณุตตมาภิเศก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ "กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์" ได้รับสถาปนาเลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ "กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์"