พระกริ่งปเรศ เนื้อนวโลหะ (ทองสัมฤทธิ์) สร้างอธิฐานจิตในวาระ พ.ศ.2416 องค์นี้ด้านหลังตอกโค๊ตเมล็ดงากำกับจำนวน 9 โค๊ต
1221001 พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างอธิฐานจิตวาระ พ.ศ.2416 พระองค์นี้เป็นพระกริ่งของผู้ครอบครอง พระเครื่องทายาท...สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ ญาณวรเถร)
การตอกเมล็ดงา มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. แยกหมวดหมู่วาระการสร้างและปีที่อธิฐานจิต ว่าอธิฐานจิตในวาระเกี่ยวกับพระราชพิธีอะไร และอยู่ในวาระของ พ.ศ.ใด โดยดูจากตำแหน่งที่ตอกโค๊ตเมล็ดงาและลักษณะของเมล็ดงาที่ตอกลงด้านหลังองค์พระ แนวเดียวกันกับกลีบบัวแถวบน โค๊ตเมล็ดงาจะปรากฏ 1 เมล็ดข้างกลีบบัวทุกองค์เพื่อเป็นข้อสังเกตุ
2. การตอกโค๊ตเม็ดงาที่สร้างเพื่อตรวจสอบและบันทึกเป็นหลักฐานอ้างอิงว่าสร้างจำนวนเท่าใด
- โค๊ตเมล็ดงา 1 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 1 พระกริ่งปวเรศทั่วๆไปจะมีโค๊ตทุกๆองค์ ยกเว้นพระกริ่งปวเรศที่สร้างใน พ.ศ.2394 บางพิมพ์เท่านั้นที่ไม่ได้ตอกเมล็ดงา
- โค๊ตเมล็ดงา 2 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 20
- โค๊ตเมล็ดงา 3 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 30
- โค๊ตเมล็ดงา 4 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 40
- โค๊ตเมล็ดงา 5 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 50
- โค๊ตเมล็ดงา 6 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 60
- โค๊ตเมล็ดงา 7 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 70
- โค๊ตเมล็ดงา 8 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 80
- โค๊ตเมล็ดงา 9 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 90
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุขที่เป็น โค๊ตหลัก 100 200...จะใช้พระนวโลหะสีแดง-อ่อน(คล้ายสีนาถ)
ในการนับองค์พระกริ่งว่าสร้างจำนวนเท่าใด
พระองค์นี้สร้างในวาระเดียวกันกับพระกริ่งปวเรศที่อยู่ในวัดบวรฯ เมล็ดงา(เมล็ดหลัก)จะอยู่ทางด้านขวาของกลีบบัว และของแท้จะต้องตอกอยู่แถวบนของกลับบัวเท่านั้น หากเป็นเมล็ดงาที่อยู่แถวล่างของกลีบบัวผู้เขียนกล่าวได้แต่เพียงสั้นๆว่า "เป็นพระกริ่งที่แปลก" ทำไมถึงกล่าวเช่นนี้
สรุปเป็นข้อๆได้ดังนี้
1. พระกริ่งปวเรศทั้งหมดที่ผู้เขียนเคยพบ และมีบุคคลมากมายนำมาให้ชม ไม่มีองค์ไหนเลยที่ตอกโค๊กเมล็ดงาอยู่แถวล่าง
2. พระกริ่งปวเรศของตระกูลใหญ่หลายๆตระกูลที่สืบทอดกันมาไม่ว่าจะเป็น ศศิรัตน แสงรื่น ทายาท..สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ ญาณวรเถร) และ ชุมสาย ณ อยุธยา โค๊ตเมล็ดงาที่พบอยู่ในแนวแถวบนของกลีบบัวทั้งหมด
3. พระกริ่งปวเรศของสายวังหน้ากลุ่มช่างสิบหมู่จากการสืบทอดของทายาท ภูมินทร์ภัคดี โค๊ตเมล็ดงาที่พบอยู่ในแนวแถวบนของกลีบบัวทั้งหมด
4. พระกริ่งปวเรศของทายาทสายวังหน้าสมบัติของ
- พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้่าเจ้าอยู่หัว
- กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
- พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมี กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ
จัดได้ว่าเป็นพระกริ่งสายตรงและเป็นสายหลักของพระกริ่งปวเรศทั้งหมดที่สร้างขึ้น ได้สืบทอดมาถึงผู้ครอบครองคนปัจจุบัน โค๊ตเมล็ดงาที่พบอยู่ในแนวแถวบนของกลีบบัวทั้งหมด
ด้วยข้อมูลที่พบทั้งหมดเหล่านี้จึงบอกได้สั้นๆอีกครั้งหนึ่งว่า แนวของกลีบบัวมี 2 แนว คือ แนวแถวบน และแนวแถวล่าง
- แนวแถวบนเป็นพระกริ่งปวเรศที่อยู่ในครอบครองของบุคคลในข้อ 1 ถึงข้อ 4
- แนวแถวล่างของกลีบบัว "เป็นพระกริ่งที่แปลก" ที่มักพบเห็นในหนังสือพระ...ที่เสี้ยนเขียนตำรา แนะนำให้หนอนตำรายึดถือว่ามีนะ
1221001 พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุข สร้างอธิฐานจิตวาระ พ.ศ.2416 พระองค์นี้เป็นพระกริ่งของผู้ครอบครอง พระเครื่องทายาท...สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ ญาณวรเถร)
การตอกเมล็ดงา มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. แยกหมวดหมู่วาระการสร้างและปีที่อธิฐานจิต ว่าอธิฐานจิตในวาระเกี่ยวกับพระราชพิธีอะไร และอยู่ในวาระของ พ.ศ.ใด โดยดูจากตำแหน่งที่ตอกโค๊ตเมล็ดงาและลักษณะของเมล็ดงาที่ตอกลงด้านหลังองค์พระ แนวเดียวกันกับกลีบบัวแถวบน โค๊ตเมล็ดงาจะปรากฏ 1 เมล็ดข้างกลีบบัวทุกองค์เพื่อเป็นข้อสังเกตุ
2. การตอกโค๊ตเม็ดงาที่สร้างเพื่อตรวจสอบและบันทึกเป็นหลักฐานอ้างอิงว่าสร้างจำนวนเท่าใด
- โค๊ตเมล็ดงา 1 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 1 พระกริ่งปวเรศทั่วๆไปจะมีโค๊ตทุกๆองค์ ยกเว้นพระกริ่งปวเรศที่สร้างใน พ.ศ.2394 บางพิมพ์เท่านั้นที่ไม่ได้ตอกเมล็ดงา
- โค๊ตเมล็ดงา 2 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 20
- โค๊ตเมล็ดงา 3 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 30
- โค๊ตเมล็ดงา 4 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 40
- โค๊ตเมล็ดงา 5 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 50
- โค๊ตเมล็ดงา 6 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 60
- โค๊ตเมล็ดงา 7 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 70
- โค๊ตเมล็ดงา 8 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 80
- โค๊ตเมล็ดงา 9 โค๊ต(เมล็ด) บ่งบอกหมายถึง เลข 90
พระกริ่งปวเรศ พิมพ์สมบูรณ์พูนสุขที่เป็น โค๊ตหลัก 100 200...จะใช้พระนวโลหะสีแดง-อ่อน(คล้ายสีนาถ)
ในการนับองค์พระกริ่งว่าสร้างจำนวนเท่าใด
พระองค์นี้สร้างในวาระเดียวกันกับพระกริ่งปวเรศที่อยู่ในวัดบวรฯ เมล็ดงา(เมล็ดหลัก)จะอยู่ทางด้านขวาของกลีบบัว และของแท้จะต้องตอกอยู่แถวบนของกลับบัวเท่านั้น หากเป็นเมล็ดงาที่อยู่แถวล่างของกลีบบัวผู้เขียนกล่าวได้แต่เพียงสั้นๆว่า "เป็นพระกริ่งที่แปลก" ทำไมถึงกล่าวเช่นนี้
สรุปเป็นข้อๆได้ดังนี้
1. พระกริ่งปวเรศทั้งหมดที่ผู้เขียนเคยพบ และมีบุคคลมากมายนำมาให้ชม ไม่มีองค์ไหนเลยที่ตอกโค๊กเมล็ดงาอยู่แถวล่าง
2. พระกริ่งปวเรศของตระกูลใหญ่หลายๆตระกูลที่สืบทอดกันมาไม่ว่าจะเป็น ศศิรัตน แสงรื่น ทายาท..สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ ญาณวรเถร) และ ชุมสาย ณ อยุธยา โค๊ตเมล็ดงาที่พบอยู่ในแนวแถวบนของกลีบบัวทั้งหมด
3. พระกริ่งปวเรศของสายวังหน้ากลุ่มช่างสิบหมู่จากการสืบทอดของทายาท ภูมินทร์ภัคดี โค๊ตเมล็ดงาที่พบอยู่ในแนวแถวบนของกลีบบัวทั้งหมด
4. พระกริ่งปวเรศของทายาทสายวังหน้าสมบัติของ
- พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้่าเจ้าอยู่หัว
- กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
- พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมี กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ
จัดได้ว่าเป็นพระกริ่งสายตรงและเป็นสายหลักของพระกริ่งปวเรศทั้งหมดที่สร้างขึ้น ได้สืบทอดมาถึงผู้ครอบครองคนปัจจุบัน โค๊ตเมล็ดงาที่พบอยู่ในแนวแถวบนของกลีบบัวทั้งหมด
ด้วยข้อมูลที่พบทั้งหมดเหล่านี้จึงบอกได้สั้นๆอีกครั้งหนึ่งว่า แนวของกลีบบัวมี 2 แนว คือ แนวแถวบน และแนวแถวล่าง
- แนวแถวบนเป็นพระกริ่งปวเรศที่อยู่ในครอบครองของบุคคลในข้อ 1 ถึงข้อ 4
- แนวแถวล่างของกลีบบัว "เป็นพระกริ่งที่แปลก" ที่มักพบเห็นในหนังสือพระ...ที่เสี้ยนเขียนตำรา แนะนำให้หนอนตำรายึดถือว่ามีนะ