หากจะกล่าวถึง พระกริ่งปวเรศ อีกทั้งรวมไปถึงพระเครื่องต่างๆที่สร้างโดยกลุ่มคนของสายวัง(วังหลวง วังหลัง วังหน้า) ประกอบด้วยยุคสมัยของผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ ทั้งผู้สร้าง และผู้อธิฐานจิต จากการพบเห็นและสัมผัสองค์พระเครื่องมากมาย กล่าวโดยภาพรวมแบ่งออกเป็น 6 ยุค ดังต่อไปนี้
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 1
--- เริ่มตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 3 พ.ศ.2382 ถึง พ.ศ.2394
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 3
--- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 2
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.2394 ถึง พ.ศ.2408
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 4
--- พระบาทสมเด็จฯพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระบาทสมเด็จฯปวเรศ), ตำแหน่ง วังหน้า
--- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 3
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.2408 ถึง พ.ศ.2411
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 4
--- ตำแหน่ง วังหน้า ว่างเว้น
--- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 4
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.24011 ถึง พ.ศ.2415
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 5
--- กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ตำแหน่ง วังหน้าองค์สุดท้าย
--- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 5
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.24015 ถึง พ.ศ.2428
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 5
--- กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ตำแหน่ง วังหน้าองค์สุดท้าย
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 6
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.2428 ถึง พ.ศ.2435
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 5
--- สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เนื่องจากไม่มีตำแหน่งวังหน้า ผู้ที่มีอาวุโสของพระญาติวังหน้า จึงได้มีบทบาทสำคัญยุคสุดท้ายของพระกริ่งวังหน้าในยุคที่ 5
หมายเหตุ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระมหาอุปราช แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาขึ้น ซึ่งมีความสำคัญรองลงมาจากพระมหากษัตริย์ และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติพระองค์ต่อไป
ข้อเท็จจริง
--- เมื่อปี พ.ศ. 2416 พระองค์ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในปีเดียวกันนี้ ทรงได้รับการโปรดเกล้า ฯ เลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์
--- พระนาม(ชื่อ)เปลี่ยนใหม่ในปี พ.ศ. 2416 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ หากใครเคยศึกษาประวัติการสร้างพระกริ่งที่มีเซียนตำราเขียนไว้ในก่อนหน้านี้ มีตั้งแต่ พ.ศ.2404, 2409, 2411, 2416, 2426 และ 2434 ว่าเป็นพระกริ่งที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์สร้างย่อมผิดไปจากข้อเท็จจริง อันที่จริงแล้วพระกริ่งของวังหน้าที่เรียกตามชื่อย่อของ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งครองตำแหน่งวังหน้าตามพระนาม(ชื่อ)ย่อของพระองค์ท่าน "ปวเรศ" ซึ่งหมายถึง พระกริ่งวังหน้า เริ่มสร้างตั้งแต่ ปี พ.ศ.2394 สืบต่อกันมา 4 ยุคสมัยด้วยกัน
ความจริงที่แตกต่าง พระกริ่งปวเรศที่ผู้เขียนพบและสัมผัสจากผู้สืบทอดสายวังหน้าโดยตรง พบพระกริ่งปวเรศที่ได้จารึก "ปวเรศ" สร้างอธิฐานจิตในวาระปี พ.ศ. 2394 เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ขึ้นครองราชย์สมบัติคู่กับ รัชกาลที่ 4 ที่เรียกสั้นๆว่า "ปวเรศ" เป็นพระนามย่อของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 1
--- เริ่มตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 3 พ.ศ.2382 ถึง พ.ศ.2394
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 3
--- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 2
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.2394 ถึง พ.ศ.2408
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 4
--- พระบาทสมเด็จฯพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระบาทสมเด็จฯปวเรศ), ตำแหน่ง วังหน้า
--- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 3
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.2408 ถึง พ.ศ.2411
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 4
--- ตำแหน่ง วังหน้า ว่างเว้น
--- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 4
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.24011 ถึง พ.ศ.2415
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 5
--- กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ตำแหน่ง วังหน้าองค์สุดท้าย
--- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 5
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.24015 ถึง พ.ศ.2428
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 5
--- กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ตำแหน่ง วังหน้าองค์สุดท้าย
พระกริ่งปวเรศและพระเครื่องสายวัง ยุคที่ 6
--- เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.2428 ถึง พ.ศ.2435
ในสมัยของ
--- รัชกาลที่ 5
--- สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เนื่องจากไม่มีตำแหน่งวังหน้า ผู้ที่มีอาวุโสของพระญาติวังหน้า จึงได้มีบทบาทสำคัญยุคสุดท้ายของพระกริ่งวังหน้าในยุคที่ 5
หมายเหตุ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ พระมหาอุปราช แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาขึ้น ซึ่งมีความสำคัญรองลงมาจากพระมหากษัตริย์ และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติพระองค์ต่อไป
ข้อเท็จจริง
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
--- ในปี พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(ร.4) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามว่า พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฤกษ์ กรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร--- เมื่อปี พ.ศ. 2416 พระองค์ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในปีเดียวกันนี้ ทรงได้รับการโปรดเกล้า ฯ เลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์
ข้อสังเกต
--- พระนาม(ชื่อ)เดิมใช้ในปี พ.ศ. 2394 ถึง พ.ศ. 2416 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฤกษ์ กรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ --- พระนาม(ชื่อ)เปลี่ยนใหม่ในปี พ.ศ. 2416 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ หากใครเคยศึกษาประวัติการสร้างพระกริ่งที่มีเซียนตำราเขียนไว้ในก่อนหน้านี้ มีตั้งแต่ พ.ศ.2404, 2409, 2411, 2416, 2426 และ 2434 ว่าเป็นพระกริ่งที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์สร้างย่อมผิดไปจากข้อเท็จจริง อันที่จริงแล้วพระกริ่งของวังหน้าที่เรียกตามชื่อย่อของ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งครองตำแหน่งวังหน้าตามพระนาม(ชื่อ)ย่อของพระองค์ท่าน "ปวเรศ" ซึ่งหมายถึง พระกริ่งวังหน้า เริ่มสร้างตั้งแต่ ปี พ.ศ.2394 สืบต่อกันมา 4 ยุคสมัยด้วยกัน
ความจริงที่แตกต่าง พระกริ่งปวเรศที่ผู้เขียนพบและสัมผัสจากผู้สืบทอดสายวังหน้าโดยตรง พบพระกริ่งปวเรศที่ได้จารึก "ปวเรศ" สร้างอธิฐานจิตในวาระปี พ.ศ. 2394 เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ขึ้นครองราชย์สมบัติคู่กับ รัชกาลที่ 4 ที่เรียกสั้นๆว่า "ปวเรศ" เป็นพระนามย่อของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว