อ้างลอกกันไปลอกกันมา...ฮาครับ กับบุคคลที่ชอบทำตัวเป็นเซียนใหญ่
ผู้เเขียนขอยกเป็นกรณีศึกษา เพื่อที่คนรุ่นใหม่จะได้ทราบและไม่โง่ที่จะถูกตำราที่เซียน...อ้างกันไปอ้างกันมา...ข้อมูลที่อ้างมีเกินครึ่งที่คิดไปเอง
หนังสือพระหลายต่อหลายเล่มพยามลอกเรียนแบบข้อมูลเรื่อง พระกริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศวิหาร อ้างองค์ครู กระทู้ที่ 69 นี้ ผู้เขียนจะนำข้อเท็จจริงมาให้ทราบว่าในอดีตตำรา...หลายๆเล่มจนถึงปัจจุบัน นิยม อ้างและลอกอะไรมาคุย เพื่อขายหนังสือกันบ้าง
เรื่องที่ 1
พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 หมายถึง พระกริ่งปวเรศ รุ่น แรก ของวัดบวรนิเวศวิหารที่สร้างโดย สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ลอกข้อมูลต่อๆกันด้วยการอ้าง สร้างเป็นการส่วนพระองค์ "...มีจำนวนน้อยไม่เกิน 30 องค์..."
ใส่ข้อมูลตีไข่เสริมแบบลอกกันมาอีกว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ จัดสร้างส่วนพระองค์ เพื่อถวายให้กับรัชกาลที่ 5 และเจ้านายเชื้อพระวงศ์ชั้นสูงกับขุนนางใกล้ชิด โดยประกอบพิธีที่วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นการสร้างเพื่อถวายพระมหากษัตริย์และบุคคลสำคัญทำให้มีการสร้างจำกัด
พร้อมทั้งอ้าง สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ซึ่งเป็นพระสังฆราชองค์ที่ 13 ว่าทรงตรัสเล่าไว้ในตำนานวัดบวรนิเวศวิหาร เพื่อสร้างภาพให้ผู้อ่านหรือผู้ศึกษาหลงเข้าใจประเด็นตามที่ผู้อ้างอิงเสนอ
ผู้เขียนขอสรุปเรื่องที่ 1 ดังนี้
...พระกริ่งฯนั้นไม่ใช่จะสร้างกันได้ง่ายๆอย่างที่เซียนตำราคิด...เริ่มตั้งแต่สร้างหุ่น ทำเบ้าหล่อ รวบรวมมวลสารโลหะธาตุต่างๆ กระขบวนการหล่อ ตบแต่ง พุทธาภิเศก แม้นกระทั้งตอกโค๊ดเมล็ดงา ถามจริงเซียนตำรา...สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ทรงตอกโค๊ตด้วยใช่ม๊๊ยกันปลอม..ฮา
...สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ท่านเป็นพระผู้ใหญ่และเป็นเชื้อพระวงศ์ชั้นสูง ลองพิจารณาดูนะครับว่าท่านจะว่างมาสร้างพระกริ่งด้วยตนเองแจกจริงหรือ?
ผู้เขียนขอเอารูปในยุคนี้ให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษา ทำความเข้าใจคำว่า "สร้าง" ที่เซียนตำราหลงประเด็น หาทางกลับบ้านไม่ถูก เกิดจากลอกกันไปลอกกันมา เพราะไม่เข้าใจคำว่า "สร้าง" จึงหาทางลงไม่ได้จึงมั่วคิดไปเอา
รูปที่ 1
ผู้เเขียนขอยกเป็นกรณีศึกษา เพื่อที่คนรุ่นใหม่จะได้ทราบและไม่โง่ที่จะถูกตำราที่เซียน...อ้างกันไปอ้างกันมา...ข้อมูลที่อ้างมีเกินครึ่งที่คิดไปเอง
หนังสือพระหลายต่อหลายเล่มพยามลอกเรียนแบบข้อมูลเรื่อง พระกริ่งปวเรศ วัดบวรนิเวศวิหาร อ้างองค์ครู กระทู้ที่ 69 นี้ ผู้เขียนจะนำข้อเท็จจริงมาให้ทราบว่าในอดีตตำรา...หลายๆเล่มจนถึงปัจจุบัน นิยม อ้างและลอกอะไรมาคุย เพื่อขายหนังสือกันบ้าง
เรื่องที่ 1
พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 หมายถึง พระกริ่งปวเรศ รุ่น แรก ของวัดบวรนิเวศวิหารที่สร้างโดย สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ลอกข้อมูลต่อๆกันด้วยการอ้าง สร้างเป็นการส่วนพระองค์ "...มีจำนวนน้อยไม่เกิน 30 องค์..."
ใส่ข้อมูลตีไข่เสริมแบบลอกกันมาอีกว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ จัดสร้างส่วนพระองค์ เพื่อถวายให้กับรัชกาลที่ 5 และเจ้านายเชื้อพระวงศ์ชั้นสูงกับขุนนางใกล้ชิด โดยประกอบพิธีที่วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นการสร้างเพื่อถวายพระมหากษัตริย์และบุคคลสำคัญทำให้มีการสร้างจำกัด
พร้อมทั้งอ้าง สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ซึ่งเป็นพระสังฆราชองค์ที่ 13 ว่าทรงตรัสเล่าไว้ในตำนานวัดบวรนิเวศวิหาร เพื่อสร้างภาพให้ผู้อ่านหรือผู้ศึกษาหลงเข้าใจประเด็นตามที่ผู้อ้างอิงเสนอ
ผู้เขียนขอสรุปเรื่องที่ 1 ดังนี้
...พระกริ่งฯนั้นไม่ใช่จะสร้างกันได้ง่ายๆอย่างที่เซียนตำราคิด...เริ่มตั้งแต่สร้างหุ่น ทำเบ้าหล่อ รวบรวมมวลสารโลหะธาตุต่างๆ กระขบวนการหล่อ ตบแต่ง พุทธาภิเศก แม้นกระทั้งตอกโค๊ดเมล็ดงา ถามจริงเซียนตำรา...สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ทรงตอกโค๊ตด้วยใช่ม๊๊ยกันปลอม..ฮา
...สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ท่านเป็นพระผู้ใหญ่และเป็นเชื้อพระวงศ์ชั้นสูง ลองพิจารณาดูนะครับว่าท่านจะว่างมาสร้างพระกริ่งด้วยตนเองแจกจริงหรือ?
ผู้เขียนขอเอารูปในยุคนี้ให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษา ทำความเข้าใจคำว่า "สร้าง" ที่เซียนตำราหลงประเด็น หาทางกลับบ้านไม่ถูก เกิดจากลอกกันไปลอกกันมา เพราะไม่เข้าใจคำว่า "สร้าง" จึงหาทางลงไม่ได้จึงมั่วคิดไปเอา
รูปที่ 1
หลวงปู่ทิมเททอง พระอาจารย์ทองเจือ และพระอาจารย์เชย เจ้าอาวาส วัดละหารไร่องค์ปัจจุบันช่วยจับสายสิญ จะเห็นกระบอกเบ้าพระกริ่งจำนวนมากเพราะพระทุกองค์เทในพิธี
หลวงปู่ทิมสร้างใช่หรือไม่?
รูปที่ 2 แล้วรูปนี้หลวงปู่ทิมสร้างใช่หรือไม่?
รูปที่ 3 หลวงพ่อคูณ เททองพระกริ่งวิทยาคม ปาฎิหาริย์พระอาทิตย์ทรงกลดต่อหน้าลูกศิษย์
เททอง - หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ เป็นประธานเททองหล่อพระกริ่งเทพวิทยาคม ที่วัดบ้านไร่ จ.นครราชสีมา ใช้ฤกษ์เวลา 15.09 น. เมื่อวันที่ 17 ก.พ. มีบุคคลสำคัญร่วมพิธีจำนวนมาก
รูปที่ 3 หลวงพ่อคูณสร้างใช่หรือไม่?
รูปที่ 4 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีเททองหล่อพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ปวเรศ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันศุกร์ที่ 27 ธ.ค.2528 เป็นปฐมมหามงคลฤกษ์ของพิธีเททองหล่อพระ ซึ่งสมเด็จพระญาณสังวรฯ ทรงเป็นประธานพิธีการเททองหล่อพระ ณ มณฑลพิธีวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ
รูปที่ 4 รูปนี้ใครสร้างครับเซียนตำรา...
รูปที่ 5 สมเด็จพระญาณสังวรฯ ทรงเป็นประธานพิธีการเททองหล่อพระ ณ มณฑลพิธีวัดบวรนิเวศวิหาร ...รูปนี้ใครสร้าง?
ภาพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เสด็จพระราชดำเนินทรงเททองหล่อพระรูป
พลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน
ณ กองบัญชาการกรมการทหารช่าง ค่ายภาณุรังษี อ.เมือง จ.ราชบุรี
วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.2531...ภาพนี้ใครสร้าง?
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ ทรงเททองหล่อพระอารยตารามหาโพธิสัตว์ และทรงเป็นประธานในพิธีมหาพุทธาภิเษกเหรียญพระอารยตารามหาโพธิสัตว์....ใครสร้าง?
รูปภาพนี้ ใครสร้าง?
สรุป เข้าใจคำว่า "สร้าง" หรือไม่ หมายถึง อะไร
ใครพูดไม่ใช่เรื่องใหญ่ ที่สำคัญคือ ข้อมูลนั้นจริงหรือไม่ ตอบไม่ได้ มีทางเลือกอยู่ 2 แนวทาง
--- ทางที่ 1 : สอบถามพระเบื้องบน...ขอ พระฯท่านเมตตาสงเคราะห์ แล้วคุณจะรู้ว่านั่งเทียนเขียนแท้ๆ
--- ทางที่ 2: หาข้อมูล เรื่อง สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ซึ่งเป็นพระสังฆราชองค์ที่ 13 ว่าทรงตรัสเล่า มีความน่าเชื่อถือม๊ยที่เซียนตำรานำพระองค์ท่านมาอ้าง?
--- สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เกิด พ.ศ.2415 --- แน่ใจนะว่าเกิด พ.ศ. นี้ท่านจะรู้เห็นเหตุการณ์ในขณะที่ สมเด็จฯกรมพระยาปวเรศฯท่านสร้าง ตั้งแต่ในสมัย ร.4 - ร.5 จนถึงปีพ.ศ.2435
--- และใน พ.ศ.2435 สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์อายุ 20 ปี พึ่งจะบวชเป็นพระสงฆ์ปีแรก ข้อมูลที่เซียนตำราจับแพะชนแกะน่าเชื่อถือหรือไม่ ท่านผู้อ่านลองพิจารณาด้วยเหตุผลข้างต้นที่ผู้เขียนได้เขียนนำมาพิจารณาว่าเชื่อถือได้หรือไม่
ประเด็นต่อมาที่เซียนตำรามักชอบอ้าง เรื่องช่วงระยะเวลา พ.ศ.ไหนที่มีการสร้างพระกริ่งปวเรศ
ผู้เขียนขอสรุปเป็นแนวทางได้ 2 แนวทาง
--- แนวทางที่ 1 ขอพระท่านฯ เมตตาสงเคราะห์ครับว่าพระกริ่งปเวศที่มีอยู่จริงแท้หรือไม่ และสร้างในยุคสมัยใด
--- แนวทางที่ 2 ศึกษาพระราชพิธีของราชสำนัก และบุคคลสำคัญชั้นสูงในสมัยนั้นๆของปีเกี่ยวข้องอะไรกับพระกริ่งปวเรศ ของไม่ยากครับ หลักฐานอ้างอิงฯ มีครบถ้วน ที่สำคัญคุณจะหาพบหรือไม่?
--- ประเด็นที่ 3 มีเซียนตำราเล่มหนึ่งชื่อภาษาประกิจขึ้นต้นด้วยตัว T มี 4 คำ กล่าวถึงเรื่องแผ่นปิดก้นพระกริ่งปวเรศว่าควรจะมีเนื้อโลหะอะไรบ้าง
ผู้เขียนขอสรุปสั้นๆดังนี้
คนที่มัวแต่อ่านตำราไม่เปิดใจกว้างรับ เห็นของแท้ยังไม่ทันพิจารณาก็ตีเป็นเก๊ แล้วเมื่อไหร่ถึงจะรู้ว่าของแท้ๆเป็นเช่นไร
สรุปให้เป็นวิทยาทานว่าก้นปิดฐานพระกริ่งปวเรศ ประกอบด้วย
1. เนื้อทองคำ
2.เนื้อเงิน
3.เนื้อสัมฤทธิ์ประกอบด้วย 3 ชนิด
3.1 ชนิดที่ 1 สัมฤทธิ์วรรณะสีผิวแดง-อ่อน
3.2 สัมฤทธิ์ชนิดที่ 2 วรรณะสีขาว หรือสีเงินโบราณ
3.3 สัมฤทธิ์ หรือ นวโลหะชนิดที่ 3 มีวรรณสีเหลือง(แต่สัมฤทธิ์ชนิดที่ 3 นี้จะไม่นำมาทำเป็นแผ่นปิดก้นพระกริ่งฯ)
3.4. แผ่นทองเหลือง(ทองฝาบาตร)
--- ประเด็นที่ 4 เรื่องชนวนโลหะจากการซ่อมฐานพระพุทธชินสีห์ พระประธานของวัดบวรนิเวศวิหาร เจ้าเดิมอ้างไปโน้น 2409 มั่วแบบคิดไปเองทั้งสิ้น
--- หลักฐานมีปรากฏทั้งที่จริงแล้ว ร.4 เมื่อ พ.ศ.2397 ได้โปรดให้หล่อฐานด้วยทองสัมฤทธิ์ ปิดทองใหม่ทั้งองค์พระและฐาน แล้วให้มีการสมโภช 5 วัน ดังนั้นเนื้อโลหะที่ตัดจากฐานพระพุทธชินสีห์จะต้องตัดก่อนปี พ.ศ.2397 ซึ่งพบว่าพระกริ่งฯที่มีส่วนผสมของฐานพระพุทธชินสีห์สร้างในวาระ พ.ศ.2392 แสดงให้ทราบว่าได้มีการสร้างตบแต่งฐานพระพุทธชินสีห์ไม่น้อยกว่า 5 ปี
ผู้เขียนขอสรุปเหมือนเดิมด้วย 2 แนวทาง
แนวทางที่ 1 สอบถามขอพระฯท่าน เมตตาสงเคราะห์ แล้วท่านจะได้ข้อสรุปว่า พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 พ.ศ.2404 นั้นมีชนวนโลหะจากการซ่อมฐานพระพุทธชินสีห์จริง ซึ่งเป็นชนวนโลหะหล่อพระกริ่งฯในปี พ.ศ.2392 นำมาหล่ออีกครั้งหนึ่ง
แนวทางที่ 2 บันทึกประวัติศาสตร์มีครับ ค้นยังไงก็มีเกี่ยวกับหลักฐานที่ ร.4 ทรงซ่อมแซม ฯ
--- ประเด็นที่ 5 อ้างพระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 องค์ที่อยู่ในพิพิธภัณฑ์วัดบวรนิเวศวิหาร คนที่เขียนอ้างไม่มีตำราเล่มไหนฟันธงว่าสร้างใน พ.ศ.2416 วาระอะไร มีแต่คาดว่าเป็น พ.ศ.2416 จึงมีความรู้เพียงเท่านั้นได้แต่พยายามหาพระกริ่งฯที่มีหน้าตาเหมือนกับองค์ที่อยู่ในเก๋งจีนอ้างอิง จึงทำให้พระกริ่งฯที่อธิฐานจิตโดยสมเด็จฯกรมพระยาปวเรศฯนั้นถูกตีเป็นพระเก๊ปลอมเรียนแบบมาหลายสิบปี มีหลายองค์ในหนังสือหลายๆเล่มหน้าตาไม่เหมือนกันแต่อาศัยการอ้างฯว่าพระกริ่งฯองค์นั้นๆอยู่ในครอบครองของชนชั้นสูงในอดีต ผู้เขียนมองแล้วบางองค์ได้แต่เก็บความขำไว้ลึกในใจ
--- ประเด็จที่ 6 เรื่องโลหะธาตุที่หล่อสำเร็จเป็นองค์พระกริ่งฯ ยังไม่มีใครสามารถแยกได้ว่า องค์ไหนเรียกว่าเนื้ออะไร ที่อ้างว่าเป็นสัมฤทธิ์มีกี่ชนิด อ้างได้ด้วยวิธีอ้างตามตำราโบราณ อันที่จริงแล้วเนื้อโลหะธาตุวรรณะสีผิวขององค์พระกริ่งฯ มีดังนี้
--- แนวทางที่ 2 ศึกษาพระราชพิธีของราชสำนัก และบุคคลสำคัญชั้นสูงในสมัยนั้นๆของปีเกี่ยวข้องอะไรกับพระกริ่งปวเรศ ของไม่ยากครับ หลักฐานอ้างอิงฯ มีครบถ้วน ที่สำคัญคุณจะหาพบหรือไม่?
--- ประเด็นที่ 3 มีเซียนตำราเล่มหนึ่งชื่อภาษาประกิจขึ้นต้นด้วยตัว T มี 4 คำ กล่าวถึงเรื่องแผ่นปิดก้นพระกริ่งปวเรศว่าควรจะมีเนื้อโลหะอะไรบ้าง
ผู้เขียนขอสรุปสั้นๆดังนี้
คนที่มัวแต่อ่านตำราไม่เปิดใจกว้างรับ เห็นของแท้ยังไม่ทันพิจารณาก็ตีเป็นเก๊ แล้วเมื่อไหร่ถึงจะรู้ว่าของแท้ๆเป็นเช่นไร
สรุปให้เป็นวิทยาทานว่าก้นปิดฐานพระกริ่งปวเรศ ประกอบด้วย
1. เนื้อทองคำ
2.เนื้อเงิน
3.เนื้อสัมฤทธิ์ประกอบด้วย 3 ชนิด
3.1 ชนิดที่ 1 สัมฤทธิ์วรรณะสีผิวแดง-อ่อน
3.2 สัมฤทธิ์ชนิดที่ 2 วรรณะสีขาว หรือสีเงินโบราณ
3.3 สัมฤทธิ์ หรือ นวโลหะชนิดที่ 3 มีวรรณสีเหลือง(แต่สัมฤทธิ์ชนิดที่ 3 นี้จะไม่นำมาทำเป็นแผ่นปิดก้นพระกริ่งฯ)
3.4. แผ่นทองเหลือง(ทองฝาบาตร)
--- ประเด็นที่ 4 เรื่องชนวนโลหะจากการซ่อมฐานพระพุทธชินสีห์ พระประธานของวัดบวรนิเวศวิหาร เจ้าเดิมอ้างไปโน้น 2409 มั่วแบบคิดไปเองทั้งสิ้น
--- หลักฐานมีปรากฏทั้งที่จริงแล้ว ร.4 เมื่อ พ.ศ.2397 ได้โปรดให้หล่อฐานด้วยทองสัมฤทธิ์ ปิดทองใหม่ทั้งองค์พระและฐาน แล้วให้มีการสมโภช 5 วัน ดังนั้นเนื้อโลหะที่ตัดจากฐานพระพุทธชินสีห์จะต้องตัดก่อนปี พ.ศ.2397 ซึ่งพบว่าพระกริ่งฯที่มีส่วนผสมของฐานพระพุทธชินสีห์สร้างในวาระ พ.ศ.2392 แสดงให้ทราบว่าได้มีการสร้างตบแต่งฐานพระพุทธชินสีห์ไม่น้อยกว่า 5 ปี
ผู้เขียนขอสรุปเหมือนเดิมด้วย 2 แนวทาง
แนวทางที่ 1 สอบถามขอพระฯท่าน เมตตาสงเคราะห์ แล้วท่านจะได้ข้อสรุปว่า พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 พ.ศ.2404 นั้นมีชนวนโลหะจากการซ่อมฐานพระพุทธชินสีห์จริง ซึ่งเป็นชนวนโลหะหล่อพระกริ่งฯในปี พ.ศ.2392 นำมาหล่ออีกครั้งหนึ่ง
แนวทางที่ 2 บันทึกประวัติศาสตร์มีครับ ค้นยังไงก็มีเกี่ยวกับหลักฐานที่ ร.4 ทรงซ่อมแซม ฯ
--- ประเด็นที่ 5 อ้างพระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 องค์ที่อยู่ในพิพิธภัณฑ์วัดบวรนิเวศวิหาร คนที่เขียนอ้างไม่มีตำราเล่มไหนฟันธงว่าสร้างใน พ.ศ.2416 วาระอะไร มีแต่คาดว่าเป็น พ.ศ.2416 จึงมีความรู้เพียงเท่านั้นได้แต่พยายามหาพระกริ่งฯที่มีหน้าตาเหมือนกับองค์ที่อยู่ในเก๋งจีนอ้างอิง จึงทำให้พระกริ่งฯที่อธิฐานจิตโดยสมเด็จฯกรมพระยาปวเรศฯนั้นถูกตีเป็นพระเก๊ปลอมเรียนแบบมาหลายสิบปี มีหลายองค์ในหนังสือหลายๆเล่มหน้าตาไม่เหมือนกันแต่อาศัยการอ้างฯว่าพระกริ่งฯองค์นั้นๆอยู่ในครอบครองของชนชั้นสูงในอดีต ผู้เขียนมองแล้วบางองค์ได้แต่เก็บความขำไว้ลึกในใจ
--- ประเด็จที่ 6 เรื่องโลหะธาตุที่หล่อสำเร็จเป็นองค์พระกริ่งฯ ยังไม่มีใครสามารถแยกได้ว่า องค์ไหนเรียกว่าเนื้ออะไร ที่อ้างว่าเป็นสัมฤทธิ์มีกี่ชนิด อ้างได้ด้วยวิธีอ้างตามตำราโบราณ อันที่จริงแล้วเนื้อโลหะธาตุวรรณะสีผิวขององค์พระกริ่งฯ มีดังนี้
1. เนื้อทองคำ
2. เนื้อเงิน
2. เนื้อเงิน
3. เนื้อสัมฤทธิ์ประกอบด้วย 3 ชนิด
สัมฤทธิ์ชนิดที่ 1 สัมฤทธิ์วรรณะสีผิวแดง-อ่อน
สัมฤทธิ์ชนิดที่ 2 วรรณะสีขาว หรือสีเงินโบราณ
สัมฤทธิ์ หรือ นวโลหะชนิดที่ 3 มีวรรณสีเหลือง
เนื้อสัมฤทธิ์หรือนวโลหะ ทั้ง 3 ชนิดเมื่อผ่านเวลาไปช่วงหนึ่งจะกลับดำ ซึ่งสีผิววรรณะที่กลับดำก็จะแตกต่างกันตามชนิดของนวโลหะ