พระกริ่งปวเรศ รุ่นนี้ได้มีการสร้างไว้พอสมควร แต่ที่จะกล่าวนี้เป็นพิมพ์พิเศษคือมีฐานรององค์พระกริ่งปวเรศที่สร้างในวาระ พ.ศ.2394 ดังรูป
รูปที่ 1 ฐานรองรับพระกริ่ง องค์ที่1
รูปที่ 2 ฐานรองรับพระกริ่ง องค์ที่2 มองเปรียบเทียบแล้วงดงามสง่าจริงๆ
รูปที่ 3 - 4 พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2394 องค์ที่ 1 ฐานด้านล่างเชื่อมติดกับก้นพระกริ่ง สร้างไว้สำหรับวางไว้บูชา เช่น พกพาเพื่อกราบไหว้เป็นขวัญกำลังใจ (เช่น ในศึกสงคราม)
รูปที่ 5 - 6 พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2394 องค์ที่ 2 ฐานด้านล่าง(ต่างจากองค์ที่ 1 เล็กน้อย) เชื่อมติดกับก้นพระกริ่ง สร้างไว้สำหรับวางไว้บูชา เช่น พกพาเพื่อกราบไหว้เป็นขวัญกำลังใจ (เช่น ในศึกสงคราม)
รูปที่ 7 - 8 พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2394 ด้านข้างพระกริ่งองค์ที่ 2 ฝีมือช่างสิบหมู่สร้างได้สมส่วนงดงามยิ่งนัก
รูปที่ 1 ฐานรองรับพระกริ่ง องค์ที่1
รูปที่ 2 ฐานรองรับพระกริ่ง องค์ที่2 มองเปรียบเทียบแล้วงดงามสง่าจริงๆ
รูปที่ 3 - 4 พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2394 องค์ที่ 1 ฐานด้านล่างเชื่อมติดกับก้นพระกริ่ง สร้างไว้สำหรับวางไว้บูชา เช่น พกพาเพื่อกราบไหว้เป็นขวัญกำลังใจ (เช่น ในศึกสงคราม)
รูปที่ 5 - 6 พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2394 องค์ที่ 2 ฐานด้านล่าง(ต่างจากองค์ที่ 1 เล็กน้อย) เชื่อมติดกับก้นพระกริ่ง สร้างไว้สำหรับวางไว้บูชา เช่น พกพาเพื่อกราบไหว้เป็นขวัญกำลังใจ (เช่น ในศึกสงคราม)
รูปที่ 7 - 8 พระกริ่งปวเรศ พ.ศ.2394 ด้านข้างพระกริ่งองค์ที่ 2 ฝีมือช่างสิบหมู่สร้างได้สมส่วนงดงามยิ่งนัก